บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2018

สนธิสัญญาริโอ

รูปภาพ
รีโอเดจาเนโร (โปรตุเกส: Rio de Janeiro; เสียงอ่านภาษาอังกฤษ: /ˈriːoʊ deɪ dʒəˈnɛəroʊ/) หรือ รีอูจีฌาเนย์รู (เสียงอ่านภาษาโปรตุเกสสำเนียงบราซิล: [ˈʁi.u dʒi ʒaˈnejɾu]) มีความหมายว่า "แม่น้ำเดือนมกราคม") หรือมักเรียกโดยย่อว่า รีโอ (Rio) เป็นเมืองหลวงของรัฐรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล โดยเป็นเมืองที่กล่าวขานกันว่างดงามที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และเป็นที่รู้จักในด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะชายหาดกอปากาบานา (Copacabana) และอีปาเนมา (Ipanema) เทศกาลรื่นเริงประจำปีของบราซิล และรูปปั้นพระเยซูขนาดใหญ่ที่รู้จักในชื่อ กริชตูเรเดงโตร์ บนยอดเขากอร์โกวาดู รีโอเดจาเนโรตั้งอยู่ที่ละติจูด 22 องศา 54 ลิปดาใต้ และลองจิจูด 43 องศา 14 ลิปดาตะวันตก ( (6,150,000) 22°54′S 43°14′W) รีโอมีประชากรประมาณ 6,150,000 (พ.ศ. 2547) และพื้นที่ 1,256 กม² (485 ไมล์²) และเป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศบราซิลรองจากเซาเปาลู (São Paulo) รีโอเป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศบราซิล ก่อนที่เมืองบราซิเลียจะเป็นเมืองหลวงในปี พ.ศ. 25...

สนธิสัญญาโตเกียว

รูปภาพ
อนุสัญญาโตเกียว                                                                       พิธีลงนามในอนุสัญญาสันติภาพโตเกียว 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ.กรุงโตเกียว อนุสัญญาโตเกียว  ( อังกฤษ :  Tokyo Convention ,  อนุสัญญาสันติภาพโตเกียว หรือ  สนธิสัญญาโตกิโอ [1] , เนื่องจากแต่ก่อนคนไทยเรียกกรุงโตเกียวว่ากรุงโตกิโอ) เป็นอนุสัญญาสืบเนื่องมาจาก กรณีพิพาทอินโดจีน ในปี  พ.ศ. 2484  ขณะที่การรบยังไม่สิ้นสุดนั้น  ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจใน เอเชีย ขณะนั้น ได้เข้ามาไกล่เกลี่ย ซึ่งประเทศ ไทย และ ฝรั่งเศส ได้ตกลง และหยุดยิงในว้นที่  28 มกราคม   พ.ศ. 2484 ก่อนจะมีการเจรจากันในวันที่  11 มีนาคม พ.ศ. 2484 [1]  ณ  กรุงโตเกียว  โดยมีนายโซสุเกะ มัดซูโอกะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศญี่ปุ่น เป็นหัวหน้าคณะฝ่ายญี่ปุ่น ฝ่ายไทยมี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เ...

สนธิสัญญาโรม

สนธิสัญญาโรม  มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า  สนธิสัญญาจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป  เป็นความตกลงระหว่างประเทศซึ่งนำไปสู่การก่อตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 มีการลงนามเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1957 โดย เบลเยียม   ฝรั่งเศส   อิตาลี   ลักเซมเบิร์ก   เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนีตะวันตก  คำว่า "เศรษฐกิจ" ถูกลบออกจากชื่อสนธิสัญญา โดย สนธิสัญญามาสตริกต์  ใน ค.ศ. 1993 และสนธิสัญญาดังกล่าวเปลี่ยนใหม่เป็นสนธิสัญญาว่าด้วยการทำหน้าที่ของ สหภาพยุโรป  เมื่อ สนธิสัญญาลิสบอน มามีผลใช้บังคับใน ค.ศ. 2009 ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเสนอให้ค่อยๆ ปรับภาษีศุลกากรลดลง และจัดตั้งสหภาพศุลกากร มีการเสนอใช้จัดตั้งตลาดร่วมสินค้า แรงงาน บริการและทุนภายในรัฐสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจยุโรป และยังได้เสนอให้จัดตั้งนโยบายการขนส่งและเกษตรร่วมและกองทุนสังคมยุโรป สนธิสัญญายังได้ก่อตั้งคณะกรรมาธิการยุโรป

สนธิสัญญาปารีส

สนธิสัญญาปารีส  อาจหมายถึง ความตกลงหลายฉบับที่เจรจาและลงนามกันใน กรุงปารีส   ประเทศฝรั่งเศส  เป็นต้นว่า สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1229) , ระหว่า พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส และ เรมงด์ที่ 7 เคานท์แห่งตูลูส  เพื่อยุติ สงครามครูเสดอัลบิเจ็นเซียน สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1259) , ระหว่าง พระเจ้าหลุยส์ที่ 10 แห่งฝรั่งเศส  และ  สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ , เฮนรีสละสิทธิในนอร์ม็องดี สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1303) , ระหว่าง พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งฝรั่งเศส  และ  สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1323) ,  หลุยส์ที่ 1 เคานท์แห่งฟลานเดอร์ส สละการอ้างสิทธิใน เซแลนด์ สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1355) , การแลกเปลี่ยนดินแดนระหว่างราชอาณาจักรฝรั่งเศสกับซาวอย สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1623) , ระหว่าง  ฝรั่งเศส ,  ซาวอย  และ  เวนิส  เพื่อทำการฟื้นฟูดินแดน วาลเทลลินา  โดยการพยายามกำจัดกองทหารสเปนที่ตั้งมั่นอยู่ที่นั่น สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1657) , ระหว่าง  อังกฤษ  และ  ฝรั่งเศส  เพื่อการเป็นพั...

COP24

COP24 Share: ...เวทีประชุม COP24 หรือชื่ออย่างเป็นทางการ United Nations Framework Convention on Climate Change (UNFCCC COP24) การชุมนุมของเหล่าผู้นำจากทั่วโลกครั้งที่ 24 ร่วมหารือบรรเทาปัญหาสภาพชั้นบรรยากาศโลกร้อนขึ้นเรื่อยๆส่งผลกระทบต่อทุกชีวิตไม่ว่าพักอาศัยอยู่มุมไหนของโลก COP24 จัดขึ้นที่เมืองคาโตวิตเซ เมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ทางภาคใต้ของโปแลนด์ ระหว่างวันที่ 3-14 ธ.ค. ถือเป็นครั้งที่ 4 ที่โปแลนด์ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประชุม... ความพยายามมีส่วนร่วมแก้ปัญหาโลกร้อนอย่างจริงจังของรัฐบาลโปแลนด์น่าสนใจยิ่ง เพราะโปแลนด์คือชาติผู้ผลิตถ่านหินรายใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป โปแลนด์อาศัยพลังงานถ่านหินใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงผู้คนในประเทศมากถึง 80 เปอร์เซ็นต์ จากเคยใช้ถ่านหินผลิตกระแสไฟฟ้ามากถึง 96 เปอร์เซ็นต์เมื่อช่วงปี 2533 เปรียบเทียบกับชาติสมาชิกทบวงพลังงานระหว่างประเทศอื่นๆพึ่งพาพลังงานไฟฟ้าจากถ่านหินมากเฉลี่ย 30 เปอร์เซ็นต์ เฉพาะแรงงานอุตสาหกรรมผลิตถ่านหินในโปแลนด์มีมากราว 90,000 คน หรือราวครึ่งหนึ่งของแรงงานอุตสาหกรรมผลิตถ่านหินทั่วทั้งสหภาพยุโรป รัฐบาลโปแล...

ผู้นำด้านแฟชั่น

นอกจากอาหารจะอร่อย มีอาคารสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และธรรมชาติที่หลากหลายแล้ว ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นหนึ่งในผู้นำด้านการเคลื่อนไหวทางสังคมหลาย ๆ อย่าง จนชาติอื่น ๆ ต้องยึดเป็นต้นแบบ แฟชั่นเป็นหนึ่งในนั้นค่ะ เมื่อพูดถึงที่มาที่ไปของการเป็นผู้นำด้านแฟชั่นของประเทศฝรั่งเศสแล้วนั้น ก็ต้องขอย้อนไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มส่งผลกระทบทำให้ผู้คนต้องอพยพจากชาญเมืองเข้าสู่ตัวเมือง หรือจากเมืองเล็ก ๆ ไกลจากตัวเมือง เข้าสู่เมืองหลวงศูนย์กลางของโรงงาน เมื่อมีการขยายโรงงานมากขึ้น รวมถึงช่วงนั้นมีสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ผู้ชายที่ไปออกรบล้มตายเป็นจำนวนมาก ผู้หญิงจากที่อยู่บ้านเป็นแม่บ้าน ก็ต้องเข้าไปทำงานในโรงงานเช่นเดียวกับผู้ชาย เมื่อผู้หญิงเริ่มทำงาน เสื้อผ้าที่สวมใส่กลับไม่เอื้ออำนวยต่อการทำงาน แต่ผู้หญิงก็ไม่สามารถใส่กางเกงเฉกเช่นผู้ชายได้ เพราะจะถูกมองว่าเป็นผู้หญิงไม่ดี ในยุคสมัยนั้นปัญหาเศรษฐกิจเริ่มตามมาเมื่อมีชนชั้นใหม่เกิดขึ้นในสังคมคือชนชั้นนายทุนและแรงงาน ทำให้เกิดช่องหว่างระหว่างรายได้ ครอบครัวของ โคโค่ ชาแนล ก็เป็นหนึ่งในผู้ประสบปัญหาทางเศรษฐกิ...